วันอังคารที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2563

การระบุข้อมูลเข้า ข้อมูลออก และเงื่อนไขของปัญหา


 ในการที่จะแก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่งได้นั้น สิ่งแรกที่ต้องทำคือทำความเข้าใจเกี่ยวกับถ้อยคำต่างๆ ในปัญหา แล้วแยกปัญหาให้ออกว่าอะไรเป็นสิ่งที่ต้องหา แล้วมีอะไรเป็นข้อมูลที่กำหนด และมีเงื่อนไขใดบ้าง หลังจากนั้นจึงพิจารณาว่าข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดให้นั้นเพียงพอที่จะหาคำตอบของปัญหาได้หรือไม่ ถ้าไม่เพียงพอ ให้หาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อที่จะสามารถแก้ไขปัญหาได้ ดังนี้ (อ่านเพิ่มเติม)

การวางแผน

 การวางแผน คือ กระบวนการคิดก่อนลงมือทำ เพื่อกำหนดแผนงานไว้เป็นการล่วงหน้าเพื่อผลสำเร็จที่ตรงตามเป้าหมาย 

(อ่านเพิ่มเติม)


การสรุปผลและการเผยแพร่ผลงาน


การแสดงผลงานจัดได้ว่าเป็นขั้นตอนสำคัญอีกประการหนึ่งของการทำโครงงานเรียกได้ว่าเป็นงานขั้นตอนสุดท้ายของการทำโครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นการแสดงผลิตผลของความคิดและการปฏิบัติการทั้งหมดที่ผู้ทำโครงงานได้ทุ่มเวลาไป และเป็นวิธีการที่จะทำให้ผู้อื่นรับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้นๆ (อ่านเพิ่มเติม)

การจัดเรียงข้อมูล


เป็นกระบวนการเพื่อจัดการข้อมูลให้จัดเรียงตามลำดับซึ่งเป็นเทคนิคในการค้นหาข้อมูลให้มีประสิทธ์ภาพมากขึ้น โดยสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภทๆ หลักคือ

 1. การเรียงลำดับภายใน(Internal Sorting) เป็นการเรียงลำดับข้อมูลภายในหน่วยความจำหลัก (Primary Memory) ซึ่งจะเหมาะสมกับข้อมูลทีมีปริมณไม่มาก เนื่องจากหน่วยความจำหลักมีขนาดจำกัด ซึ่งมีวิธีการเรียงลำดับข้อมูล โดยสมารถแบ่งประเภ
ทย่อยได้ดังนี้
(อ่านเพิ่มเติม)

การออกแบบขั้นตอนวิธี

สำหรับการออกแบบในการเรียนรู้เบื้องต้น จะให้นักเรียนเรียนรู้เฉพาะการออกแบบการแก้ปัญหาเท่านั้น นั่นคือไม่รวมถึงการออกแบบหน้าจอ (User interface) หรือออกแบบฐานข้อมูล (Database) หรืออื่นๆ วิธีการออกแบบการแก้ปัญหานั้น นิยมทำอยู่ 3 ลักษณะ ได้แก่ (อ่านเพิ่มเติม)





วันอังคารที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2563

การกำหนดปัญหา

 ระยะที่ 1 การกำหนดปัญหา

นักวิเคราะห์ระบบจะต้องศึกษาเพื่อค้นหาปัญหา ข้อเท็จจริงที่แท้จริง ซึ่งหากปัญหาที่ค้นพบ มิใช่ปัญหาที่แท้จริง ระบบงานที่พัฒนาขึ้นมาก็จะตอบสนองการใช้งานไม่ครบถ้วน  (อ่านเพิ่มเติม)



วิธีการดำเนินงาน

 ในการจัดทำโครงงานคอมพิวเตอร์ด้วย wordpress เรื่องประเภทของคอมพิวเตอร์นี้ ผู้จัดทำโครงงานมีวิธีดำเนินงานโครงงาน ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้(อ่านเพิ่มเติม)



การกำหนดขอบเขตของปัญหา

 การกำหนดขอบเขตของปัญหา

การวิจัยทุกเรื่องจะต้องมีขอบเขตของการศึกษา เพื่อให้ทราบว่าการวิจัยที่จะศึกษามีขอบข่ายกว้างขวางเพียงใด เนื่องผู้วิจัยไม่สามารถทำการวิจัยได้ครบถ้วนทุกแง่ทุกมุมของปัญหานั้น ด้วยเหตุนี้เมื่อได้ปัญหาที่จะทำการวิจัยแน่นอนแล้ว ผู้วิจัยจะต้องกำหนดขอบเขตของการศึกษาให้ชัดเจนว่าจะครอบคลุม (อ่านเพิ่มเติม)


หน่วยแสดงผล (Output Unit)

 หน่วยแสดงผล

     หน่วยแสดงผล (output unit) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงผลลัพธ์ หรือสารสนเทศที่ผ่าน
การประมวลผล โดยจะแปลงผลลัพธ์จากสัญญาณไฟฟ้าของเครื่องคอมพิวเตอร์ให้กลายเป็นรูปแบบ
ที่มนุษย์เข้าใจ  (อ่านเพิ่มเติม)

การทำงานแบบวนซ้ำ

 การทำงานแบบวนซ้ำ (Loop)เป็นการนำคำสั่งมาทำงานซ้ำหลายๆ รอบ จะทำงานกี่รอบขึ้นอยู่กับเงื่อนไขที่ผู้เขียนโปรแกรมกำหนดไว้ ซึ่งอาจจะเป็นการกำหนดจำนวนรอบที่แน่นอน เช่น ตั้งใจว่าจะวิ่งรอบสนาม 3 รอบ คือรู้แน่นอนว่าจะทำงานกี่รอบ หรือแบบจำนวนรอบไม่แน่นอน เช่น ตั้งใจว่าจะวิ่งรอบสนามไปเรื่อยๆ เหนื่อยเมื่อไหร่จึงจะหยุดวิ่ง คือไม่แน่ชัดว่าจะทำงานกี่รอบ (อ่านเพิ่มเติม)